ตรวจเครน ตรวจปั้นจั่น ปจ1 ปจ2 ทุกชนิด ด้วยทีมวิศวกรขึ้นทะเบียนตามมาตรา 9 ประสบการณ์ตรงด้านการตรวจรับรองเครน พร้อมโหลดเทสตามกฎหมายกำหนด ให้บริการทุกพื้นที่ 77 จังหวัดทั่วไทย
ปจ1
ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่
เช่น ปั้นจั่นเหนือศีรษะ, ปั้นจั่นขาสูง, ลิฟท์ขนส่ง, ปั้นจั่นหอสูง เครนแขนหมุน และอื่นๆ
ปจ2
ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่
เช่น โมมายเครน, รถเฮี๊ยบ, เรือนเครน, เทเลแฮนเดอร์, เครนตีนตะขาบ, เครนล้อยาง และอื่นๆ
ตรวจรับรอง
เครื่องจักร โรงงาน
เช่น รถตัก, รถแบกโฮล, เครื่องจักร, บูมลิฟท์, โฟล์คลิฟท์ รถยกทุกประเภท
พร้อมออกรายงานตรวจสอบเครน ภาษาไทย 1 ฉบับ
เลือกแผนการตรวจเครนที่คุณสนใจ
ตรวจโดยวิศวกรขึ้นทะเบียนมาตรา 9
ตรวจเครน ปจ1
ราคาเริ่มต้น 1,000 บาท
- ทดสอบพิกัดยก (โหลดเทส)
- ออกรายงานตรวจเครน ปจ1
- โดยวิศวกรเครื่องกล
ตรวจเครน ปจ2
ราคาเริ่มต้น 1,200 บาท
- ทดสอบพิกัดยก (โหลดเทส)
- ออกรายงานตรวจเครน ปจ2
- โดยวิศวกรเครื่องกล
มาตรฐานตรวจปั้นจั่น
Safetymember เน้นมาตรฐานการตรวจตาม ข้อกำหนดที่ใช้ในการตรวจสอบ และรับรองความปลอดภัยของเครน ปั้นจั่น
- ตรวจตามข้อกำหนด ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น พ.ศ. 2554
- คู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตกำหนด
- อุปกรณ์ตรวจสอบ ได้รับมาตรฐาน ISO/IEC 17025
- วิศวกรขึ้นทะเบียนตามมาตรา 9
เหตุผลที่ต้องตรวจเครน
- ป้องกันอุบัติเหตุ ลดความเสี่ยงในการทำงาน
ยืดอายุการใช้งานของเครน
สร้างความมั่นใจให้กับพนักงานและองค์กร
- เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายแรงงานและกฎหมายความปลอดภัย
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง : กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564
หมวดที่ 2 ส่วนที่ 1 กำหนดให้นายจ้างต้องมีการตรวจเครน พร้อมเก็บหลักฐานให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้
ทำไมต้องใช้บริการตรวจเครน Safety Member
อุปกรณ์มาตรฐาน ISO/IEC 17025
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของเราได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพื่อให้มั่นใจในความแม่นยำของผลลัพธ์
มาตรฐานคุณภาพ ISO 9001
ลูกค้ามั่นใจว่าทุกกระบวนการบริการของเรานั้นมีมาตรฐานและสามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน
ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า
เราได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าชั้นนำระดับประเทศมากกว่า 1000+ บริษัทให้คุณสามารถมั่นใจ
ขั้นตอนการตรวจสอบเครนแบ่งออกเป็น 6 ขั้น
01
ตรวจสอบโครงสร้างภายนอก ปั้นจั่น
ตรวจสอบโครงสร้างปั้นจั่นทั้งรางเลื่อน, คานเครน, ฐานรากเครน, และ ส่วนยึดต่างๆของเครน เพื่อตรวจหาช่องรอยแตกร้าว มีการกัดกร่อนหรือไม่
02
ตรวจส่วนประกอบของเครน
ตรวจสอบส่วนประกอบทุกส่วนของเครน เช่น โฟร์ค, สลิง, ล้อ, โซ่ ส่วนต่างๆ โดยละเอียด เพื่อเช็คเครนว่ามีสภาพแข็งแรง หรือมีรอยแตกร้าวหรือไม่
03
ตรวจเคลื่อนที่และระบบควบคุม
ตรวจสอบระบบควบคุมเครน เช่น รีโมทควบคุม, สวิตช์, และเซ็นเซอร์ ตรวจสอบระบบไฟฟ้าทั้งหมด เช่น สายไฟ, โคมไฟ, วงจรไฟฟ้า
05
ทดสอบพิกัดยก (โหลดเทส)
ทำการทดสอบโหลดเทสโดยรับน้ำหนักที่เครนต้องยก สามารถรับน้ำหนักนั้นได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
06
ออกรายงานการตรวจสอบเครน
หลังจากการตรวจสอบลูกค้าจะได้รับรายงานตรวจสอบเป้นภาษาไทย 1 ฉบับ พร้อมระบุข้อมูลและจุดที่ต้องมีการปรับปรุง (หากมี)
เอกสารรายงานผลการทดสอบปั้นจั่น ประกอบด้วย
ในรายงานผลการทดสอบปั้นจั่น (ปจ1 ปจ2) คุณจะได้รับเอกสารดังนี้
- ข้อมูลการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์เครน
- แนบภาพถ่ายวิศวกร ขณะทำการตรวจปั้นจั่น
- ข้อมูลพื้นฐานของวิศวกรที่ดำเนินการตรวจสอบ
- สำเนาในประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- สำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- Calibration
บริการเสริมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
สำหรับลูกค้าที่มีจุดต้องแก้ไข เราพร้อมให้บริการบำรุงรักษาเครน และซ่อมแซมเครน ครบวงจร
ซ่อมรอกเครน
ที่ไม่ทำงาน / ชำรุด
ซ่อมลิฟท์
ขนส่งของทุกชนิด
เปลี่ยนอุปกรณ์
เครนทุกชนิด
การทำงานตรวจเครนทีมวิศวกร Safetymember
คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับบริการตรวจสอบเครน
คำว่า “ปั้นจั่น” หมายถึงเครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการยกสิ่งของขึ้นและลงตามแนวดิ่งและเคลื่อนย้ายสิ่งของเหล่านั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ และรวมถึงเครื่องจักรประเภทรอกที่ใช้ในการยกสิ่งของขึ้นและลงตามแนวดิ่งด้วยโวยวายหรือเส้นกลางเจาะตัวไปด้วยความแข็งแรงเพื่อให้สามารถยกหรือลงสิ่งของนั้นอย่างปลอดภัยและมีความคล่องตัวในการเคลื่อนไหว
ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ชนิด
- ปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ (ปจ.1)
- ปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ (ปจ.2)
เครื่องชั่งแขวงดิจิตอล, เครื่องวัดระยะเลเซอร์, มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล, เวอร์เนียนดิจิตอล และอื่นๆ โดยเครื่องมือทุกชิ้นผ่านมาตรฐาน ISO 17025 และสอบเทียบก่อนนำไปใช้งาน
ตรวจสอบน้ำหนักต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดต่อไปนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของปั้นจั่น โดยแบ่งเป็นสองกรณีดังนี้:
- ปั้นจั่นใหม่:
- ถ้าปั้นจั่นมีขนาดไม่เกิน 20 ตัน ให้ทดสอบการรับน้ำหนักโดยยกขึ้นจากพื้นและตรวจสอบว่าสามารถรับน้ำหนักได้ครั้งแรกที่ไม่เกิน 1 เท่าของน้ำหนักที่กำหนดสำหรับปั้นจั่นนี้ แต่ต้องไม่เกิน 1.25 เท่าของน้ำหนักที่กำหนด
- ถ้าปั้นจั่นมีขนาดมากกว่า 20 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตัน ให้ทดสอบการรับน้ำหนักโดยยกขึ้นจากพื้นและตรวจสอบว่าสามารถรับน้ำหนักเพิ่มอีก 5 ตันจากพิกัดยกที่ปลอดภัย
- ปั้นจั่นที่ใช้งานแล้ว:
- ให้ทดสอบการรับน้ำหนักโดยยกขึ้นจากพื้นและตรวจสอบว่าสามารถรับน้ำหนักได้ครั้งแรกที่ไม่เกิน 1.25 เท่าของน้ำหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด โดยไม่เกินพิกัดยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตกำหนด
- ในกรณีที่ปั้นจั่นไม่มีพิกัดยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตกำหนด ให้วิศวกรเป็นผู้กำหนดพิกัดยกในการทดสอบและตรวจสอบการรับน้ำหนักตามที่กำหนดให้ทุกครั้งที่ใช้งานปั้นจั่นนี้ในอายุการใช้งานต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในระเบียบของผู้ผลิต โดยไม่เกินพิกัดยกอย่างปลอดภัย